ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปูพรมนโยบายการสร้างเสริมสุขภาวะ ‘ผู้ป่วยระยะสุดท้าย’ ทั่วประเทศ

   สธ.- สช.- สภาการพยาบาลจับมือเดินหน้ามอบนโยบายบูรณาการการดำเนินงาน “สิทธิการตายดี” ตามมาตรา 12 แห่ง พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 หรือ Living Will และการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative Care) แก่ผู้บริหารสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 77 จังหวัด และเขตสุขภาพทั้ง 12 เขต เตรียมดันเข้าสู่ระบบบริการปฐมภูมิ เข้าถึงชุมชน ครอบคลุมทุกโรคทุกช่วงวัย ทั่วประเทศ      สังคมไทยเผชิญกับโรคร้ายและโรคอุบัติใหม่เพิ่มขึ้น เมื่อผนวกกับข้อเท็จจริงที่ว่าเรากำลังก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ ซึ่งจะมีสัดส่วนผู้สูงอายุถึงร้อยละ 20 ในอีก 4 ปีข้างหน้า ก็ยิ่งเป็นความท้าทายที่ทุกภาคส่วนจะต้องร่วมกันหาแนวทางรับม

วางแผน “ตายดี” ทางเลือกสร้างสุขปั้นปลาย

   งานสร้างสุขที่ปลายทางครั้งที่ 3 ชวนแพทย์ร่วมเล่าประสบการณ์ว่าครอบครัวควรทำอย่างไรเมื่อต้องดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ควรบอกความจริงหรือไม่ บอกข่าวร้ายอย่างไร ตัดสินใจแบบไหนดีในช่วงท้าย ร่างกาย จะทรมานแค่ไหน ฯลฯ รวมถึงแนวทางในภาพใหญ่ที่ควรผลักดันระบบอาสาสมัครและให้ ‘ ชุมชน’ มีส่วนร่วมในเรื่องนี้...      21 ก.พ.

ชวนเข้าใจ ‘การตายดี’ ดันเครือข่ายพื้นที่ดูแล ‘ผู้ป่วยระยะสุดท้าย’

   เปิดงาน ‘สร้างสุขที่ปลายทาง’ ครั้งที่ 3 สช. จับมือเครือข่ายยกระดับความเข้าใจสิทธิการตายตามธรรมชาติและการดูแลแบบประคับประคองผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามมาตรา 12 แห่ง พ.ร.บ.สุขภาพฯ ด้าน สธ.

กำหนดการ รายละเอียดงานสร้างสุขที่ปลายทาง ครั้งที่ 3

          แนวโน้มอุบัติการณ์ของโรคร้ายแรงและโรคที่คุกคามต่อชีวิตเพิ่มสูงขึ้น เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ในขณะที่สังคมไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบ ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะความเจ็บป่วย คุณภาพชีวิต และภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต ในขณะเดียวกันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางการแพทย์ก็นำมาสู่การรักษาหรือช่วยชีวิตผู้ป่วยให้สามารถมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น ทำให้เกิดการรักษาที่ยาวนานยืดเยื้อ และเมื่อโรคเข้าสู่ระยะสุดท้าย การปกป้องชีวิตด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ประกอบกับความเชื่อของผู้ป่วยและครอบครัว การขาดทัศนคติที่ดีของประชาชนและบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุ