Skip to main content

เริ่มแล้ว!! งานสร้างสุขที่ปลายทาง ปีที่ 2 เดินหน้าขับเคลื่อนนโยบายตายดี ภารกิจร่วมของทุกภาคส่วน

   คณะทำงานสร้างสุขที่ปลายทางพร้อมนำทุกภาคส่วนขับเคลื่อนนโยบายตายดีและพัฒนาระบบดูแลแบบประคับประคอง วงเสวนาชี้การถอดเครื่องพยุงชีวิตต่างๆ ในช่วงวาระสุดท้าย คือ การทำบุญครั้งสุดท้ายให้ผู้ป่วยได้จากไปอย่างสงบ      เวที “สร้างสุขที่ปลายทาง ปีที่ 2” จัดโดยคณะทำงานสร้างสุขที่ปลายทาง เป็นความร่วมมือขององค์กรด้านสุขภาพ 11 แห่ง ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ร่วมกับ ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มูลนิธิเครือข่ายพุทธิกา, กลุ่ม Peaceful Death, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กระทรวงสาธารณสุข, สภาการพยาบาล, หอจดห

งาน‘สร้างสุขที่ปลายทาง ปีที่ 2’ วันที่ 1-2 พ.ย.

   คณะทำงานสร้างสุขที่ปลายทางฯ เชิญชวนร่วมงาน “สร้างสุขที่ปลายทาง ปีที่ 2” วันที่ 1-2 พ.ย.นี้ เปิดโลกทัศน์ปรับความคิดเรื่องการ “ตายดี” ยุคโรคร้ายคุกคามและสังคมสูงวัย พบวิทยากรมากมาย พร้อมนักเขียนและศิลปินดัง กิจกรรม Workshop สมุดเบาใจ เขียนหนังสือแสดงเจตนาเมื่อวาระสุดท้ายมาถึง      สังคมไทยกำลังเผชิญแนวโน้มโรคร้ายแรงคุกคามชีวิต ไม่ว่าจะเป็น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน ฯลฯ ขณะเดียวกันยังเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงวัยเต็มรูปแบบ ส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยระยะสุดท้ายเพิ่มมากขึ้น      แม้เทคโนโลยีทางการแพทย์จะยื้อชีวิตให้ยืนยาว แต่ก็ต้องแลกมาด้วยสายระโยงระยาง เครื่องปั๊มหัวใจ นำไปสู่ความทุก

มุมมอง ‘ความตาย’ ในทัศนะ ‘คนรุ่นใหม่’

   หลายคนอาจมองว่า ‘ความตาย’ กับ “วัยหนุ่มสาว” น่าจะยังเป็นเรื่องห่างไกล หากในความจริง วัยนี้ก็ไม่ต่างจากวัยอื่น มีโอกาสอยู่ในสถานการณ์เฉียดตายได้เช่นเดียวกัน !!      ดังกรณีของ “ปูเป้” ปริญลดา ศรีภัทราพันธุ์ อดีตผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองระยะสุดท้าย ซึ่งตรวจพบในวัยเพียง 17 ปี ในช่วงเวลาที่ควรใช้ชีวิตวัยเด็กอย่างสนุกสนาน แต่กลับต้องเข้าออกโรงพยาบาลเพื่อทำเคมีบำบัดนับเดือน นับปี และนั่นคือจุดพลิกผัน ทำให้ “ความตายเป็นเรื่องใกล้ตัว” สำหรับเธอ      เมื่อเวลาเฉียดตายผ่านพ้นไป วันนี้ ปูเป้ในวัย 28 กลายเป็นสาวที่มีชีวิตชีวาสดใส แต่ก็ไม่เคยลืมความเจ็บปวดและทรมานในอดีตเมื่อครั้งมะเร็งคุกคามชีวิต ส่งผล

‘ถอด-ไม่ถอด’ เครื่องช่วยหายใจ การตัดสินใจบนเส้นด้ายของชีวิต

   ปัจจุบันเกิดวิวาทะเกี่ยวกับ “เครื่องช่วยหายใจ” เนื่องจากบางส่วนมองว่าเครื่องช่วยหายใจคือ สัญลักษณ์ของการรักษาชีวิตผู้ป่วย หากถอดเครื่องเมื่อไหร่ผู้ป่วยจะตาย ขณะที่บางส่วนก็มองว่าเครื่องช่วยหายใจคือ สัญลักษณ์ของการยื้อชีวิตที่ทำให้ผู้ป่วยตายไปอย่างทุกข์ทรมาน วิวาทะนี้เริ่มจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะพลวัตรของสังคมไทยที่เป็นสังคมผู้สูงอายุและมีผู้ป่วยที่เป็นโรครักษาไม่หายเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ      ในฐานะหน่วยงานหลักขับเคลื่อนกฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ร่วมกับ ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดส

วางพิมพ์เขียว Hospice ศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะท้าย เชื่อมโรงพยาบาล-บ้าน สร้างคุณภาพชีวิตก่อนตาย

   ทุกภาคส่วนจับมือเดินหน้าผลักดันแนวทางสร้างศูนย์การดูแลผู้ป่วยระยะเวลาสุดท้ายก่อนเสียชีวิต (Hospice) โดย มธ.